MicroComputer

	ไมโครโปรเซสเซอร์  ถือว่าเป็นหัวใจของเครื่อง พีซี ซึ่งอาจเรียกอีกอย่างว่า ซีพียู ซึ่ง มีหน้าที่ควบคุมการทำงาน ของ คอมพิวเตอร์
 โดยส่งสัญญาณ ควบคุมตำแหน่งของหน่วยความจำ และข้อมูลจากส่วนหนึ่งไปอีกส่วนหนึ่ง โดยอาศัยระบบเชื่อมต่อทางอิเคทรอนิด ที่เรียกว่า
 Bus ตามตำแหน่งของ Bus จะมี พอร์ด สำหรับการไหลของของมูล
	Micirprocessor  รุ่น 8088 ซีพียูรุ่นนี้ ใช้ในเครื่อง พีซี ของ ไอบีเอ็ม รุ่น แรก ปละ ยีซี รุ่น เอ็กซ์ที (PC/XT) พีซี รุ่น Portable  JR
  มีขนาด 16 บิต หมายความว่า สามารถรับส่งข้อมูลในแต่ละครั้งได้  16 บิต หรือ 2 ไบต์ และใน 8088 มีรีจิสเตอร์ อยู่ 14 ตัว
	Micorprocessor รุ่น 8086 ซีพียูรุ่นนี้ ใช้ในเครื่อง ไอบีเอ็ม PS 2   รุ่น 25 และ 30 และเครื่องเลียนแบบ อื่น ๆ อีกมากมาย
  8086 แตกต่างจาก 8088เพียงประการเดียวคือ 8086 ใช้ Bus  ข้อมูล 16 บิต  แทน 8 บิต  ซึ่ง 8088 ใช้อยู่
	Micorprocessor รุ่น 80286 ซีพียูรุ่นนี้ ใช้ในเครื่อง ไอบีเอ็ม  PCAT และ รุ่น อื่น ๆ มีทรานซิสเตอร์ 134,000ตัว
 มีความเร็วในการทำงาน 2 MIPS จุดเด่น ของ อยู่ตรงที่สามารถทำงานแบบบ มัลติทาสกิงค์  คือ ความสามารถของ ซีพียู ที่จะทำงานหลาย ๆ
 อย่างได้ในเวลาเดียวกัน  เช่น คำนวณ  พิมพ์เอกสาร
	Micorprocessor รุ่น 80386  ทำงานเหมือน 8086 มีการจัดการหน่วยความจำเช่นเดียวกัน กับรุ่น 80286 ใช้ทรานซิสเตอร์ 275000 ตัว
	 มีรีจิสเตอร์ขนาด 32 บิต 
	Micorprocessor รุ่น 80486 ซีพียูรุ่นนี้  มีการเพิ่มหน่วยความจำแบบแคช  ทำให้หมดปัญหา การรอคอย Wait State 
	Micorprocessor รุ่น Pentium เกิดขึ้นในปี 1993 มีความเร็วสูงกว่า 80486  มีบัสข้อมูล ภายนอก 64 บิต  ความสามารถใน
	การติดต่อหน่วยความจำเพิ่มมากขึ้น มี แคช ภายในที่ใหญ่ขึ้นยืดหยุ่น มากขึ้น มีทรานซิสเตอร์มากกว่า 3,000,000 ตัว 
คุณสมบัติของ เซิร์ฟเวอร์
	1. ประสิทธิภาพ( Performance ) 
	2. ความแข็งแรง( Robustness )
	3. การจัดการเน็ตเวิร์ก( Network Management )
	4. การกระจายข้อมูลที่เห็นได้ตลอด
	5. ความปลอดภัย (  Security )
Hardisk Controller
	คือ การควบคุม การถ่ายโอน ข้อมูลเข้าออก ดิสก์ มีอยู่ 4 แบบได้แก่
	1. Controller แบบ ST-506 (  SEGATE TECHNOLOGY 506 )
		คอนโทรลเลอร์รุ่นนี้จะแยกออกจาก ฮาร์ดิสก์อัตราการถ่ายโอนข้อมูลประมาณ 5 เมกะบิต/วินาที 
	2. . Controller แบบ SCSI(  SMALL COMPUTER SYSTEM INTERFACE )
		สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้มากถึง 8 อย่าง กับ พีซี ตัวอย่างเช่น สามารถต่อ ฮาร์ดิสก์ได้ 5 ตัว ซีดีรอม อีก 3 ตัว 
		คอนโทรลเลอร์ ชนิดนี้ มีRom-bios ของตัวเอง แต่ไม่ได้สนับสนุนโดยตรงแก่คำสั่งมาตรฐาน
		 คอนโทรลเลอร์ชนิดนี้จะถูกจัดการแบบ  Device  Driver ซึ่งจัดให้เฉพาะ SCSI เท่านั้น
 	3. . Controller แบบ ESDI ( ENHANCED SMALL DEVICE INTERFACE )
		ESDI ออกแบบมาให้เข้ากับ ST-506 แต่มีอัตราการถ่ายโอนข้อมูล ที่เร็วกว่า อัตราที่เร็วกว่านี้
		 ได้จาก การเปลี่ยนแปลง 2 อย่างคือ อย่างแรก ตัวแยกข้อมูลติดตั้งบน Drive เอง ปฎิบัติการบนแถบ
		ของข้อมูลดิบ และแยกข้อมูลที่ใช้ประโยชน์จริง ๆ ออกจากข้อมูลควบคุม ส่วเฉพาะข้อมูลจริงๆ ไปยังคอนโทรลเลอร์
	4.. การอินเตอร์เฟส แบบ IDE (  Intergrated Drive Electronics ) 
		การอินเตอร์เฟส แบบ IDE   จะรวม Drive  และ คอนโทรลเลอร์ เป็นหน่วยเดียวกัน
CD - ROM 
	CD-ROM  ย่อมาจาก Compact Disk Read Only Memory เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบจานแสง 
	สามารถเก็บภาพกราฟฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียงสำหรับสื่อต่างๆ ประมาณ 600MB
	 CD-ROM ต่างจาก Harddisk แม่เหล็ก 2 ประการคือ
		1. ข้อมูลบน ซีดีรอม จะถูกเก็บในแบบขด เป็นวงจากนอกเข้าสู่ศูนย์กลาง
		2. อัตราการหมุนของ ซีดีรอม จะแปรเปลี่ยนตามตำแหน่งของหัวอ่าน
เครื่องพิมพ์เลเซอร์
		เครื่องพิมพ์เลเซอร์ จะมีหลักการทำงานคล้ายเครื่องถ่ายเอกสาร คือ นำเทคโนโลยีของเครื่องถ่ายเอกสาร
  	ทำงานร่วมกับเทคโนโลยี เครื่องพิมพ์ 
		เริ่มแรก ขดลวดโคโรนาไพรมารีจะทำการสร้างประจุไฟฟ้า แล้วสะท้อนไปตกกระทบยังผิวหน้าของดรัม
	 ซึ่งหลักจากเกิดเงาก็จะหมายถึงข้อความหรือภาพที่ถูกสั่งพิมพ์ ขั้นตอนสุดท้าย กระดาษจะถูกเลื่อนออกไปผ่านชุดอบด้วย
	อุณหภูมิสูง 183 องศาเซลเสียส เรียกว่า Fuser Roller
		สรุปหลักการทำงานของเครื่องพิมพ์เลเซอร์ 
		1. การชาร์จประจุลงบนผิวหน้าของดรัม    [Condition Stage]
		2. การฉาบลำแสงเลเซอร์ลงบนผิวหน้าของดรัม  [Writing Stage]
		3. การนำผงหมึกมาสร้างรูปภาพ   [Developing Stage]
		4. การนำรูปภาพที่ได้ลงสู่กระดาษ   [Transfering Stage]]
		5. การอบกระดาษด้วยความร้อน   [Fusing Stage]
		6. การทำความสะอาดดรัมไวแสง   [Cleaning]


งานวิชา BCOM 302 Dos: Disk Operating System Microcomputer Windows UNIX
คำถามเรื่อง dos คำถามเรื่อง Microcomputer คำถามเรื่อง Windows คำถามเรื่อง UNIX
Come back Home!